BAM มุ่งหวังที่จะเป็นเครื่องมือสำคัญ
ในการบริหารจัดการสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ

 

โดยมีส่วนช่วยเหลือลูกหนี้และแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน
ช่วยฟื้นฟูธุรกิจอสังหาริมทรัพย์โดยการพัฒนาทรัพย์สินรอการขายที่มีศักยภาพ
ให้เป็นสินค้าที่ได้มาตรฐานเป็นที่ต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้น

 

BAM มีความพร้อมที่จะเสนอตัวเข้าไปรับจัดการบริหารหนี้
จากสถาบันการเงินทุกแห่ง

 

ให้สมกับเป็นองค์กรมืออาชีพในการบริหารจัดการ NPL/NPA
และมุ่งมั่นที่จะก้าวสู่การเป็นบริษัทบริหารสินทรัพย์ที่ดีที่สุดของประเทศ


ประวัติความเป็นมา

วิสัยทัศน์ขององค์กร

เป็นองค์กรหลักในการพลิกฟื้นสินทรัพย์เพื่อช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน

พันธกิจ

บริหารจัดการและพลิกฟื้น
สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ
ให้กลับคืนสู่ระบบเศรษฐกิจ

ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง

ยกระดับผลิตภัณฑ์และบริการ
เพื่อลูกค้าและทุกภาคส่วน

สร้างเครือข่ายพันธมิตรเพื่อขยาย
ฐานธุรกิจและฐานลูกค้า
อย่างบูรณาการ

พัฒนาบุคลากรให้เชี่ยวชาญ
สานต่อองค์กรด้วยแนวคิดใหม่ ๆ

กำกับดูแลกิจการภายใต้หลักการ
สิ่งแวดล้อม สังคม ธรรมาภิบาล
เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม
อย่างยั่งยืน

สาขา BAM

กรุงเทพมหานคร
ภาคเหนือ
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
สำนักงานใน กรุงเทพมหานคร
สำนักงานใหญ่

99 ถ.สุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

โทรศัพท์ 0-2630-0700

โทรสาร 0-2266-3377

ปทุมธานี 1

242/8-9 ซอยวิภาวดีรังสิต 82 แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210

โทรศัพท์ 0-2533-6511 ,0-2533-6512 , 0-2533-6513

โทรสาร 0-2533-6514

สำนักงานใน ภาคเหนือตอนบน
ฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์และจำหน่ายทรัพย์ภาคเหนือตอนบน

207/11 ถนนแก้วนวรัฐ ต.วัดเกต อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50000

โทรศัพท์ 0-5324-6621-2

โทรสาร 0-5324-6619

สำนักงานเชียงใหม่ (แก้วนวรัฐ)

207/11 ถนนแก้วนวรัฐ ต.วัดเกต อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50000

โทรศัพท์ 0-5326-6472-5

โทรสาร 0-5326-6476

สำนักงานเชียงใหม่ (เจริญเมือง)

115 ถ.เจริญเมือง ต.วัดเกต อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50000

โทรศัพท์ 0-5324-4075-6

โทรสาร 0-5324-4077

สำนักงานเชียงราย

246 ถ.ธนาลัย ต.เวียง อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย 57000

โทรศัพท์ 0-5371-1003, 0-5371-1763, 0-5371-1773, 0-5371-1146

โทรสาร 0-5371-1503

สำนักงานลำปาง

399/7-8 ถนนไฮเวย์ลำปาง-งาว ต.สวนดอก อ.เมืองลำปาง จ.ลำปาง 52100

โทรศัพท์ 0-5421-7127, 0-5421-7321, 0-5422-8380

โทรสาร 0-5422-6641

สำนักงานใน ภาคเหนือตอนล่าง
สำนักงานพิษณุโลก

227/27 ถ.บรมไตรโลกนารถ ต.ในเมือง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์ 0-5524-7488-9

โทรสาร 0-5524-7487

สำนักงานแพร่

235 ถ.เจริญเมือง ต.ในเวียง อ.เมืองแพร่ จ.แพร่ 54000

โทรศัพท์ 0-5451-1049, 0-5451-1546, 0-5462-1121

โทรสาร 0-5451-1782

สำนักงานนครสวรรค์

1250/9-10 หมู่ที่ 10 ถ.พหลโยธิน ต.นครสวรรค์ตก อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ 60000

โทรศัพท์ 0-5637-2107-8

โทรสาร 0-5637-2109

สำนักงานใน ภาคกลาง
ฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์และจำหน่ายทรัพย์ภาคกลาง

330/1-3 หมู่ที่ 5 ถ.ไผ่ขวาง-ลาดตาล ต.ท่าระหัด อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี 72000

โทรศัพท์ 0-3552-4183-5

โทรสาร 0-3552-1372

สำนักงานสระบุรี

127 ถ.พหลโยธิน ต.ปากเพรียว อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี 18000

โทรศัพท์ 0-3622-1871, 0-3622-3989

โทรสาร 0-3622-3733

สำนักงานสุพรรณบุรี

330/1-3 หมู่ที่ 5 ถ.ไผ่ขวาง-ลาดตาล ต.ท่าระหัด อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี 72000

โทรศัพท์ 0-3552-4183-5, 0-3552-2993

โทรสาร 0-3552-4186

สำนักงานราชบุรี

194/2 ถ.ทรงพล ต.บ้านโป่ง อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี 70110

โทรศัพท์ 0-3221-1045, 0-3221-1934, 0-3230-1021

โทรสาร 0-3222-1892

สำนักงานนครปฐม

603 ถ.เพชรเกษม ต.ห้วยจรเข้ อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม 73000

โทรศัพท์ 0-3424-3381-3

โทรสาร 0-3424-3384

สำนักงานประจวบคีรีขันธ์

41 หมู่ที่ 2 ถ.เพชรเกษม ต.เขาน้อย อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77120

โทรศัพท์ 0-3262-2039, 0-3262-1499, 0-3262-2050

โทรสาร 0-3262-2051

สำนักงานใน ภาคตะวันออก
ฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์และจำหน่ายทรัพย์ภาคตะวันออก

83/5-7 หมู่ที่ 2 ถ.สุขุมวิท ต.เสม็ด อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี 20000

โทรศัพท์ 0-3814-4130-2

โทรสาร 0-3814-4138

สำนักงานชลบุรี

83/5-7 หมู่ที่ 2 ถ.สุขุมวิท ต.เสม็ด อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี 20000

โทรศัพท์ 0-3814-4130-2

โทรสาร 0-3814-4135

สำนักงานระยอง

79 ถ.สุขุมวิท ต.ท่าประดู่ อ.เมืองระยอง จ.ระยอง 21000

โทรศัพท์ 0-3861-1028, 0-3861-1591, 0-3861-2836

โทรสาร 0-3861-2837

สำนักงานฉะเชิงเทรา

108/16-17 ถ.มหาจักรพรรดิ์ ต.หน้าเมือง อ.เมืองฉะเชิงเทรา จ.ฉะเชิงเทรา 24000

โทรศัพท์ 0-3851-2900-1

โทรสาร 0-3851-2902

สำนักงานใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์และจำหน่ายทรัพย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

292 ถ.หน้าเมือง ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000

โทรศัพท์ 0-4322-5226-8

โทรสาร 0-4322-5229

สำนักงานขอนแก่น

292 ถ.หน้าเมือง ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000

โทรศัพท์ 0-4322-5226-8

โทรสาร 0-4322-6219

สำนักงานอุดรธานี

165,167 ถ.โพศรี ต.หมากแข้ง อ.เมืองอุดรธานี จ.อุดรธานี 41000

โทรศัพท์ 0-4224-0538-40

โทรสาร 0-4222-1158

สำนักงานนครราชสีมา

30 ถ.โพธิ์กลาง ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา 30000

โทรศัพท์ 0-4424-4288, 0-4424-4388, 0-4425-5726

โทรสาร 0-4424-1594, 0-4425-9386

สำนักงานอุบลราชธานี

7 ถ.กันทรลักษ์ ต.วารินชำราบ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 34190

โทรศัพท์ 0-4532-1161, 0-4532-1382, 0-4526-9422

โทรสาร 0-4532-1062

สำนักงานใน ภาคใต้ตอนบน
ฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์และจำหน่ายทรัพย์ภาคใต้ตอนบน

14-14/1-2 ถ.ตลาดใหม่ ต.ตลาด อ.เมืองสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี 84000

โทรศัพท์ 0-7727-2186, 0-7727-3289, 0-7728-8472

โทรสาร 0-7722-2286

สำนักงานสุราษฎร์ธานี

14-14/1-2 ถ.ตลาดใหม่ ต.ตลาด อ.เมืองสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี 84000

โทรศัพท์ 0-7728-4961-3, 0-7728-8962

โทรสาร 0-7728-1287

สำนักงานภูเก็ต

5/5, 5/11 หมู่ที่ 8 ต.ฉลอง อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต 83130

โทรศัพท์ 0-7638-4461-3

โทรสาร 0-7638-4464

สำนักงานใน ภาคใต้ตอนล่าง
ฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์และจำหน่ายทรัพย์ภาคใต้ตอนล่าง

257 ถ.เพชรเกษม ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110

โทรศัพท์ 0-7426-2825-7

โทรสาร 0-7426-2577

สำนักงานหาดใหญ่

257 ถ.เพชรเกษม ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110

โทรศัพท์ 0-7426-1501-4

โทรสาร 0-7426-2572

สำนักงานนครศรีธรรมราช

81/1 ซ.แม่อ่างทอง ถ.พัฒนาการคูขวาง ต.ในเมือง อ.เมืองนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช 80000

โทรศัพท์ 0-7534-4770-2

โทรสาร 0-7534-4773

สำนักงานยะลา

79, 81 ถ.พิพิธภักดี ต.สะเตง อ.เมืองยะลา จ.ยะลา 95000

โทรศัพท์ 0-7322-3740-2

โทรสาร 0-7322-3743

ความหมายของตราสัญลักษณ์

ความโค้งมน

หมายถึง ความราบรื่น ความ สามัคคี เป็นหนึ่งเดียว

สีน้ำเงิน

หมายถึง ความมั่นคง ความฉลาด ความน่าเชื่อถือ สงบ เยือกเย็น ความเป็นมืออาชีพ

สีเหลือง

เป็นสีตระกูลเดียวกับสีทอง สื่อถึงความเจริญรุ่งเรือง ความมีคุณค่า ความทันสมัย

สีขาว

หมายถึง ความโปร่งใส

โครงสร้างองค์กร

ภารกิจของ BAM

1 การติดตามเรียกเก็บหนี้ (NPL)

ปรับกระบวนการทำงาน

เพื่อเปลี่ยน NPL เป็นเงินสดหรือทรัพย์สินรอการขาย

เร่งเจรจาให้ได้ข้อยุติ

เพื่อให้ได้เงินสดหรือโอนทรัพย์หลักประกันชำระหนี้

กรณีไม่ได้ข้อยุติ

ให้บังคับคดี เพื่อเปลี่ยนหลักประกันเป็นทรัพย์สินรอการขาย

2 การจำหน่ายทรัพย์สินรอการขาย (NPA)

ออกบูธร่วมกับงานมหกรรม

และตามห้างต่างจังหวัดที่มี NPA ของ BAM เป็นจำนวนมาก

จัดประมูลทรัพย์

อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง สำหรับ NPA เพื่อการลงทุน

กิจกรรมส่งเสริมการขาย

เพื่อเร่งกระตุ้นให้เกิดการขายทรัพย์ให้ได้เร็วมากขึ้น

3 เพิ่มประสิทธิภาพงานด้านการจัดการทรัพย์

คัดเลือกและปรับปรุงทรัพย์สิน

รอการขายตามความต้องการของตลาด

หารายได้ในระหว่างการรอขาย

ด้วยการให้เช่า เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายและป้องกันการเสื่อมสภาพของทรัพย์ลงไป

สำรวจทรัพย์อย่างสม่ำเสมอ

และติดป้ายประกาศขายทุกรายการ

ยุทธศาสตร์
ในการดำเนินธุรกิจ

BAM ได้กำหนดยุทธศาสตร์
ในการดำเนินงานที่สำคัญไว้ดังนี้

มุ่งเน้นการเพิ่มขนาดสินทรัพย์ที่สร้างโอกาสในการแข่งขัน

ด้วยการกำหนดเป้าหมายซื้อ NPL ที่คำนึงถึงหลักประกันที่เป็นที่ต้องการของตลาด ในขณะที่ NPA ต้องมีสภาพคล่องดีและสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้โดยเร็ว

ปรับกระบวนการดำเนินงาน

ด้วยการเปลี่ยนกระบวนการทำงานเพื่อเร่งให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นเงินสดให้มีความรวดเร็วขึ้น

บริหารจัดการ NPL ด้วยการปรับกระบวนการทำงานเพื่อเร่งให้ได้ข้อยุติ

ส่วนการบริหารจัดการ NPA มุ่งเน้นวิธีการขายให้เหมาะสมกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ประเภททรัพย์ และเกรดทรัพย์

จัดการบริหารความเสี่ยงขององค์กรให้ครอบคลุม

ทั้งในเรื่องของสภาพคล่องทางการเงิน และการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมของ BAM

การพัฒนาระบบข้อมูลองค์กรด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพระบบงานและฐานข้อมูล

เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานและรองรับกลยุทธ์ขององค์กร รวมทั้งพัฒนาบุคลากรด้วยการสร้างระบบจัดการองค์ความรู้ เพื่อเตรียมบุคลากรเพื่อรองรับธุรกิจให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างต่อเนื่อง

มีความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมให้ครอบคลุมทุกด้าน

ทั้งในด้านการศึกษา ด้านการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ผู้ประสบความเดือดร้อน ส่งเสริมด้านกีฬา ดนตรี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การปลูกป่า และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อีกทั้งการดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล

การกำกับดูแลกิจการที่ดี

บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ตระหนักดีว่ากระบวนการกำกับดูแลกิจการที่ดี คือปัจจัยสำคัญของการเติบโตทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืน จึงได้ให้ความสำคัญและมุ่งมั่นตลอดมาที่จะสร้างมาตรฐานการจัดการที่ดี เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและก่อประโยชน์ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท ตลอดจนให้ความสำคัญกับการส่งเสริมพนักงานทุกระดับให้ยึดถือและปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี

โครงสร้างของ BAM

มีกลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ โดยมีการแบ่งอำนาจหน้าที่ระหว่างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร และฝ่ายจัดการ อย่างชัดเจน ซึ่ง BAM ได้กำหนดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีไว้ 8 หลักปฏิบัติ ดังนี้

1

ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการในฐานะผู้นำองค์กร

ที่สร้างคุณค่าให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน

2

กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก

ของกิจการที่เป็นไปเพื่อความยั่งยืน

3

เสริมสร้างคณะกรรมการบริษัท

ที่มีประสิทธิผล

4

สรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูง

และการบริหารบุคลากร

5

การส่งเสริมนวัตกรรม

และการประกอบธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ

6

ดูแลให้มีระบบการบริหารความเสี่ยง

และการควบคุมภายในที่เหมาะสม

7

รักษาความน่าเชื่อถือทางการเงิน

และการเปิดเผยข้อมูล

8

สนับสนุนการมีส่วนร่วม

และการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น

BAM Mobile Application

ค้นหาทรัพย์ง่ายๆ เพียงปลายนิ้วสัมผัส

บริการฝากขาย
อสังหาฯ
ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย